วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2554
ส่งงานเพิ่ม
กลุ่มไหนที่ยังไม่มีใน Link ของผม ให้โพสต์ ชื่อเว็บ Blog ในบทความนี้เท่านั้น
วันพุธที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554
วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2554
การสร้างเครื่องบิน
การสร้างเครื่องบิน Boeing 737 กว่าจะได้
วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2554
มาดูดาวกัน
NASA มีของเล่นใหม่ เปิดตัวโปรแกรม “Eyes on the Solar System” เป็นระบบ 3D ดูระบบสุริยะ การเคลื่อนไหวของดาวเคราะห์
วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2554
จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ความหมายจริยธรรมและความหมายจรรยาบรรณ
จริยธรรม มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
• จริย หมายถึง ความประพฤติ การปฏิบัติ กิริยาที่ควรประพฤติ
• ธรรม หมายถึง คุณความดี บุญกุศล ข้อบังคับ กฎ หลัก คำสั่งสอนทางศาสนา
จริยธรรม หมายถึง การแสดงออกทางการประพฤติปฏิบัติของบุคคลที่แสดงให้เห็นถึงการกระทำในสิ่งที่ถูกต้องและอยู่ในกรอบของศีลธรรม
จรรยาบรรณ หมายถึง “ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างที่กำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้”จรรยาบรรณเป็นจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพสาขาต่างๆ พึงตระหนักและปฏิบัติให้เป็นไปตามแนวทางที่จะอำนวยประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองและผู้อื่นในสังคมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และยุติธรรม
จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติหน้าที่และดำรงชีวิตเหมาะสมตามหลักธรรมาภิบาล
1.1 ประกอบวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีความยุติธรรม ใฝ่หาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ เป็นการพัฒนาตน และงานที่รับผิดชอบ อันจะเป็นการเพิ่มศักยภาพให้ตนเองและหน่วยงานที่สังกัด
1.2 ผู้ประกอบวิชาชีพคอมพิวเตอร์จะมีความวิริยะอุตสาหะในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุความสำเร็จของงานสูงสุด
2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน ตั้งมั่นอยู่ในความถูกต้อง มีเหตุผล และรู้รักสามัคคี
2.1 ไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธิเดิมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.2 ให้ความยกย่องและนับถือผู้ร่วมงานและผู้ร่วมอาชีพทุกระดับที่มีความรู้ความสามารถและความประพฤติดี
2.3 รักษาและแสวงหามิตรภาพระหว่างผู้ร่วมงานและผู้ร่วมอาชีพ
3. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ไม่ประพฤติหรือกระทำการใดๆอันเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในวิชาชีพแห่งตน
3.1 ใช้ความรู้ความสามารถในทางสร้างสรรค์ ไม่ใช้ในทางทำลายหรือกลั่นแกล้งให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
3.2 ไม่แอบอ้าง อวดอ้าง ดูหมิ่นต่อบุคคลอื่นๆหรือกลุ่มวิชาชีพอื่น
3.3 ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อส่งเสริมเกียรติคุณของวิชาชีพ ผู้ร่วมอาชีพและเพื่อพัฒนาวิชาชีพ
4. จรรยาบรรณต่อสังคม ปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตน ในวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ที่ดี เป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
4.1 ไม่เรียกรับหรือยอมรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบด้วยกฎ ระเบียบ และหลักคุณธรรม จริยธรรม
4.2 ไม่ใช้อำนวยหน้าที่โดยไม่ชอบธรรมในการเอื้อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์
4.3 ไม่ใช้ความรู้ความสามารถไปในทางล่อลวง หลอกลวง จนเป็นเหตุให้เกิดผลเสียต่อผู้อื่น
5. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ เคารพในสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคของผู้อื่น ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม
5.1 รับฟังความคิดเห็นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างบุคคล เครือข่าย และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
5.2 เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและสามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานได้
ที่มา http://www.finearts-psdg.com/n/tabid/247/Default.aspx
คุณสมบัติของนักคอมพิวเตอร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติที่เอื้อประโยชน์ต่องานอาชีพ คุณสมบัติของนักคอมพิวเตอร์ ควรมีลักษณะ ดังนี้
1. เป็นนักวางแผนที่ดี
2. เป็นนักออกแบบที่สร้างสรรค์
3. เป็นนักจิตวิทยา
4. เป็นผู้มีสติ
5. เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ
6. เป็นผู้ใช้ศาสตร์ใช้ศิลป์ได้อย่างกลมกลืน
7. เป็นผู้มีวินัยในตนเอง
8. มีความขยัน อดทน
9. มีความกระตือรือร้น สนใจศึกษาค้นคว้าอยู่เสมอ
10. มีจรรยาต่อวิชาชีพ
การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานอาชีพงานอาชีพคอมพิวเตอร์นับว่ามีความสำคัญต่อหน่วยงาน สถาบัน และองค์กรทางธุรกิจต่างๆ มากมาย ดังนั้นผู้ที่เป็นนักคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีบุคลิกที่เอื้ออำนวยให้เกิดภาพลักษณ์ในทางบวกต่อตนเองและงานอาชีพ ในที่จะขอกล่าวบุคลิกภาพที่พึงประสงค์ในงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นการพัฒนาปรับปรุงบุคลิกภาพให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเกิดความเชื่อถือศรัทธา และเป็นที่ยอมรับของผู้ที่มาติดต่อสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าผู้ใช้บริการ หรือนายจ้างบุคลิกของนักคอมพิวเตอร์จึงมีส่วนช่วยในการทำงานประสบความสำเร็จ ฉะนั้นจึงควรมีการพัฒนาบุคลิกภาพด้านต่างๆ ต่อไปนี้
1. รู้จักพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รอบรู้
2. รู้จักฝึกตนเองให้มีความอดทน
3. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง
4. รู้ปรับตัวในด้านความสัมพันธ์ดี
5. รู้จักปรับตัวให้ทำงานกับผู้อื่นได้
6. รู้จักตนเองให้เป็นคนตรงต่อเวลาในการนัดหมาย
7. รู้จักฝึกตนเองให้มีความรับผิดชอบในการ
8. รู้จักดูแลตนเองในด้านการแต่งกายให้เหมาะสมกับงานและตำแหน่งเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพให้แก่ผู้ที่พบเห็นได้อีกด้วย
9. รู้จักคิดและพัฒนาอุปนิสัยให้คนซื่อสัตย์ และมีความจริงใจต่อผู้อื่น
10. รู้จักการทำตนให้เป็นคนกล้ายอมรับความจริง
จริยธรรม มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
• จริย หมายถึง ความประพฤติ การปฏิบัติ กิริยาที่ควรประพฤติ
• ธรรม หมายถึง คุณความดี บุญกุศล ข้อบังคับ กฎ หลัก คำสั่งสอนทางศาสนา
จริยธรรม หมายถึง การแสดงออกทางการประพฤติปฏิบัติของบุคคลที่แสดงให้เห็นถึงการกระทำในสิ่งที่ถูกต้องและอยู่ในกรอบของศีลธรรม
จรรยาบรรณ หมายถึง “ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างที่กำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้”จรรยาบรรณเป็นจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพสาขาต่างๆ พึงตระหนักและปฏิบัติให้เป็นไปตามแนวทางที่จะอำนวยประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองและผู้อื่นในสังคมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และยุติธรรม
จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติหน้าที่และดำรงชีวิตเหมาะสมตามหลักธรรมาภิบาล
1.1 ประกอบวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีความยุติธรรม ใฝ่หาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ เป็นการพัฒนาตน และงานที่รับผิดชอบ อันจะเป็นการเพิ่มศักยภาพให้ตนเองและหน่วยงานที่สังกัด
1.2 ผู้ประกอบวิชาชีพคอมพิวเตอร์จะมีความวิริยะอุตสาหะในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุความสำเร็จของงานสูงสุด
2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน ตั้งมั่นอยู่ในความถูกต้อง มีเหตุผล และรู้รักสามัคคี
2.1 ไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธิเดิมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
2.2 ให้ความยกย่องและนับถือผู้ร่วมงานและผู้ร่วมอาชีพทุกระดับที่มีความรู้ความสามารถและความประพฤติดี
2.3 รักษาและแสวงหามิตรภาพระหว่างผู้ร่วมงานและผู้ร่วมอาชีพ
3. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ไม่ประพฤติหรือกระทำการใดๆอันเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในวิชาชีพแห่งตน
3.1 ใช้ความรู้ความสามารถในทางสร้างสรรค์ ไม่ใช้ในทางทำลายหรือกลั่นแกล้งให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
3.2 ไม่แอบอ้าง อวดอ้าง ดูหมิ่นต่อบุคคลอื่นๆหรือกลุ่มวิชาชีพอื่น
3.3 ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อส่งเสริมเกียรติคุณของวิชาชีพ ผู้ร่วมอาชีพและเพื่อพัฒนาวิชาชีพ
4. จรรยาบรรณต่อสังคม ปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตน ในวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ที่ดี เป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
4.1 ไม่เรียกรับหรือยอมรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบด้วยกฎ ระเบียบ และหลักคุณธรรม จริยธรรม
4.2 ไม่ใช้อำนวยหน้าที่โดยไม่ชอบธรรมในการเอื้อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์
4.3 ไม่ใช้ความรู้ความสามารถไปในทางล่อลวง หลอกลวง จนเป็นเหตุให้เกิดผลเสียต่อผู้อื่น
5. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ เคารพในสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคของผู้อื่น ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม
5.1 รับฟังความคิดเห็นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างบุคคล เครือข่าย และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
5.2 เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและสามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานได้
ที่มา http://www.finearts-psdg.com/n/tabid/247/Default.aspx
คุณสมบัติของนักคอมพิวเตอร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติที่เอื้อประโยชน์ต่องานอาชีพ คุณสมบัติของนักคอมพิวเตอร์ ควรมีลักษณะ ดังนี้
1. เป็นนักวางแผนที่ดี
2. เป็นนักออกแบบที่สร้างสรรค์
3. เป็นนักจิตวิทยา
4. เป็นผู้มีสติ
5. เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ
6. เป็นผู้ใช้ศาสตร์ใช้ศิลป์ได้อย่างกลมกลืน
7. เป็นผู้มีวินัยในตนเอง
8. มีความขยัน อดทน
9. มีความกระตือรือร้น สนใจศึกษาค้นคว้าอยู่เสมอ
10. มีจรรยาต่อวิชาชีพ
การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานอาชีพงานอาชีพคอมพิวเตอร์นับว่ามีความสำคัญต่อหน่วยงาน สถาบัน และองค์กรทางธุรกิจต่างๆ มากมาย ดังนั้นผู้ที่เป็นนักคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีบุคลิกที่เอื้ออำนวยให้เกิดภาพลักษณ์ในทางบวกต่อตนเองและงานอาชีพ ในที่จะขอกล่าวบุคลิกภาพที่พึงประสงค์ในงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นการพัฒนาปรับปรุงบุคลิกภาพให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเกิดความเชื่อถือศรัทธา และเป็นที่ยอมรับของผู้ที่มาติดต่อสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าผู้ใช้บริการ หรือนายจ้างบุคลิกของนักคอมพิวเตอร์จึงมีส่วนช่วยในการทำงานประสบความสำเร็จ ฉะนั้นจึงควรมีการพัฒนาบุคลิกภาพด้านต่างๆ ต่อไปนี้
1. รู้จักพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รอบรู้
2. รู้จักฝึกตนเองให้มีความอดทน
3. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง
4. รู้ปรับตัวในด้านความสัมพันธ์ดี
5. รู้จักปรับตัวให้ทำงานกับผู้อื่นได้
6. รู้จักตนเองให้เป็นคนตรงต่อเวลาในการนัดหมาย
7. รู้จักฝึกตนเองให้มีความรับผิดชอบในการ
8. รู้จักดูแลตนเองในด้านการแต่งกายให้เหมาะสมกับงานและตำแหน่งเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพให้แก่ผู้ที่พบเห็นได้อีกด้วย
9. รู้จักคิดและพัฒนาอุปนิสัยให้คนซื่อสัตย์ และมีความจริงใจต่อผู้อื่น
10. รู้จักการทำตนให้เป็นคนกล้ายอมรับความจริง
วันอาทิตย์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วิธีการสร้างแบบสอบถามออนไลน์
1. การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ของ Google จะต้องมี Email ของ Google หรือ Gmail ก่อน แล้วเข้าไปที่เว็บ http://docs.google.com แล้ว Login เข้า Google docs หาก Login อยู่แล้วเมื่อเข้าไปตาม Link ก็จะเข้ามาที่หน้า google docs
ไปที่เมนู สร้างใหม่ > แบบฟอร์ม
กรอกชื่อแบบสอบถาม ใส่รายละเอียดหรือคำแนะนำ คำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม
จากนั้นในช่อง หัวข้อคำถามให้พิมพ์คำถาม
ข้อความช่วยเหลือหรืออธิบายเพิ่มเติม (ไม่ต้องใส่ก็ได้)
ประเภทคำถาม มีให้เลือก 6 แบบ
1. ข้อความ = การกรอกคำพูดข้อความลงในช่องว่าง
2. ข้อความย่อหน้า = การกรอกข้อความลงในช่อง แต่เป็นข้อความที่ยาวเป็นย่อหน้า
3. หลายตัวเลือก = คำถามแบบมีตัวเลือกหลายตัว (เลือกตอบได้เพียง 1 ข้อ)
4. ช่องทำเครื่องหมาย = มีตัวเลือกหลายตัว (สามารถเลือกได้หลายตัวเลือก)
5. เลือกจากรายการ = เลือกจากรายการที่มีให้เลือกได้คำตอบเดียวเหมือน Multiple choice แต่รูปแบบจะเป็นแบบ Dropdown List
6. สเกล = การตอบเป็นระดับคุณภาพ มีให้เลือกตั้นแต่ 0,1 – 10
7. เส้นตาราง = คล้ายแบบสเกล แต่สามารถสร้างรายการคำถามได้มากกว่า 1 รายการ
พิมพ์ตัวเลือกลงไป หากคำถามข้อนั้นบังคับให้ตอบ ให้คลิกเครื่องหมายถูกที่ Make this a required question จากนั้นคลิก Done
หากต้องการแก้ไขคำถามที่กดเสร็จสิ้นไปแล้ว ให้กดที่รูปดินสอที่ข้อนั้นแล้วเข้าไปแก้ไข
หากต้องการทำข้อต่อไปคลิกที่ เพิ่มรายการ แล้วเลือกชนิดของคำถาม
ตัวอย่างแบบหลายตัวเลือก
ตัวอย่างแบบ ช่องทำเครื่องหมาย ในกรณีที่มีคำตอบเป็นอื่นๆ ที่ให้ผู้ตอบสามารถพิมพ์ลงมาเองได้ให้กดที่ เพิ่ม "อื่นๆ"
ผู้ตอบสามารถพิมพ์ลงมาเองได้ หากต้องการลบคำตอบในข้อใดให้คลิก x ด้านหลังข้อนั้นๆ
ตัวอย่างแบบ สเกล
ตัวอย่างรูปแบบของคำถามที่ทำเสร็จ
หากข้อต้องการย้ายหรือสลับข้อ ให้คลิกค้างไว้แล้้วลากไปไว้ในที่ที่ต้องการ
ตัวอย่างแบบ เลือกจากรายการ
ตัวอย่างรูปแบบของคำถาม Choose from a list ที่ทำเสร็จ
ตัวอย่างแบบ ข้อความ
ตัวอย่างแบบ ข้อความย่อหน้า
ปุ่มแก้ไข คัดลอก ลบ
เมื่อทำเสร็จแล้วคลิกที่ปุ่ม บันทึก ที่อยู่ขวาบน
เมื่อ บันทึก เสร็จจะเป็นดังภาพ บันทึกแล้ว จะไม่ Active
หากต้องการใส่ ชุดรูปแบบ ให้แบบสอบถามคลิกที่ ชุดรูปแบบ Plain
คลิกเลือก ชุดรูปแบบ ที่ต้องการ
เมื่อเลือกแล้วจะแสดงตัวอย่างของแบบสอบถาม ซึ่งตัวอักษรบางส่วนจะอ่านไม่ออก ให้กดที่ปุ่ม “ใช่” เป็นอันเสร็จขั้นตอนการทำแบบสอบถาม
การนำแบบสอบถามไปใช้งาน
อย่างแรกคือ การส่ง Email คลิกที่ “ส่งอีเมลฟอร์มนี้” พิมพ์ Email Address ที่ต้องการให้ตอบแบบสอบถามลงไป แบบสอบถามจะถูกส่งไปให้กับผู้รับ
ถ้ามีการตอบแบบสอบถามแล้ว เราสามารถ Loin เข้ามาดูโดยเข้ามาที่ http://docs.google.com
เลือกดูไปที่ “ดูการตอบกลับ” > “ข้อมูลสรุป” เป็นจำนวนรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม และแสดงกราฟในแต่ละข้อ
“ดูการตอบกลับ” > “สเปรดชีต” เป็นข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม เป็นช่องคล้าย Excel 1 แถวคือข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 1 คน
“ดำเนินการเพิ่ม” > “ฝัง” เข้ามาในนี้ จะมี Code ฝัง ให้สามารถ Copy ไปใช้ใส่ในหน้าเว็บได้
“ดำเนินการเพิ่ม” > “แก้ไขการยังยืน” การแก้ไขข้อความที่แสดง หลังจากผู้ตอบแบบสอบถามกด “ตกลง”
หากต้องการดูแบบสอบถามที่ทำ ให้คลิกที่ลิ้งค์ที่แสดงอยู่ด้านล่างสุด ที่เขียนไว้ว่า “คุณสามารถดูฟอร์มที่เผยแพร่ได้ที่นี่”
ตัวอย่างแบบสอบถามที่ทำเสร็จ
เมื่อต้องการเข้ามาดูสถิติและข้อมูลที่มีคนตอบแบบสอบถามมา ให้ Login เข้ามาที่ http://docs.google.com แล้วเลือกแบบสอบถามที่จะดูสถิติ
ไปที่เมนู สร้างใหม่ > แบบฟอร์ม
กรอกชื่อแบบสอบถาม ใส่รายละเอียดหรือคำแนะนำ คำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม
จากนั้นในช่อง หัวข้อคำถามให้พิมพ์คำถาม
ข้อความช่วยเหลือหรืออธิบายเพิ่มเติม (ไม่ต้องใส่ก็ได้)
ประเภทคำถาม มีให้เลือก 6 แบบ
1. ข้อความ = การกรอกคำพูดข้อความลงในช่องว่าง
2. ข้อความย่อหน้า = การกรอกข้อความลงในช่อง แต่เป็นข้อความที่ยาวเป็นย่อหน้า
3. หลายตัวเลือก = คำถามแบบมีตัวเลือกหลายตัว (เลือกตอบได้เพียง 1 ข้อ)
4. ช่องทำเครื่องหมาย = มีตัวเลือกหลายตัว (สามารถเลือกได้หลายตัวเลือก)
5. เลือกจากรายการ = เลือกจากรายการที่มีให้เลือกได้คำตอบเดียวเหมือน Multiple choice แต่รูปแบบจะเป็นแบบ Dropdown List
6. สเกล = การตอบเป็นระดับคุณภาพ มีให้เลือกตั้นแต่ 0,1 – 10
7. เส้นตาราง = คล้ายแบบสเกล แต่สามารถสร้างรายการคำถามได้มากกว่า 1 รายการ
พิมพ์ตัวเลือกลงไป หากคำถามข้อนั้นบังคับให้ตอบ ให้คลิกเครื่องหมายถูกที่ Make this a required question จากนั้นคลิก Done
หากต้องการแก้ไขคำถามที่กดเสร็จสิ้นไปแล้ว ให้กดที่รูปดินสอที่ข้อนั้นแล้วเข้าไปแก้ไข
หากต้องการทำข้อต่อไปคลิกที่ เพิ่มรายการ แล้วเลือกชนิดของคำถาม
ตัวอย่างแบบหลายตัวเลือก
ตัวอย่างแบบ ช่องทำเครื่องหมาย ในกรณีที่มีคำตอบเป็นอื่นๆ ที่ให้ผู้ตอบสามารถพิมพ์ลงมาเองได้ให้กดที่ เพิ่ม "อื่นๆ"
ผู้ตอบสามารถพิมพ์ลงมาเองได้ หากต้องการลบคำตอบในข้อใดให้คลิก x ด้านหลังข้อนั้นๆ
ตัวอย่างแบบ สเกล
ตัวอย่างรูปแบบของคำถามที่ทำเสร็จ
หากข้อต้องการย้ายหรือสลับข้อ ให้คลิกค้างไว้แล้้วลากไปไว้ในที่ที่ต้องการ
ตัวอย่างแบบ เลือกจากรายการ
ตัวอย่างรูปแบบของคำถาม Choose from a list ที่ทำเสร็จ
ตัวอย่างแบบ ข้อความ
ตัวอย่างแบบ ข้อความย่อหน้า
ปุ่มแก้ไข คัดลอก ลบ
เมื่อทำเสร็จแล้วคลิกที่ปุ่ม บันทึก ที่อยู่ขวาบน
เมื่อ บันทึก เสร็จจะเป็นดังภาพ บันทึกแล้ว จะไม่ Active
หากต้องการใส่ ชุดรูปแบบ ให้แบบสอบถามคลิกที่ ชุดรูปแบบ Plain
คลิกเลือก ชุดรูปแบบ ที่ต้องการ
เมื่อเลือกแล้วจะแสดงตัวอย่างของแบบสอบถาม ซึ่งตัวอักษรบางส่วนจะอ่านไม่ออก ให้กดที่ปุ่ม “ใช่” เป็นอันเสร็จขั้นตอนการทำแบบสอบถาม
การนำแบบสอบถามไปใช้งาน
อย่างแรกคือ การส่ง Email คลิกที่ “ส่งอีเมลฟอร์มนี้” พิมพ์ Email Address ที่ต้องการให้ตอบแบบสอบถามลงไป แบบสอบถามจะถูกส่งไปให้กับผู้รับ
ถ้ามีการตอบแบบสอบถามแล้ว เราสามารถ Loin เข้ามาดูโดยเข้ามาที่ http://docs.google.com
เลือกดูไปที่ “ดูการตอบกลับ” > “ข้อมูลสรุป” เป็นจำนวนรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม และแสดงกราฟในแต่ละข้อ
“ดูการตอบกลับ” > “สเปรดชีต” เป็นข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม เป็นช่องคล้าย Excel 1 แถวคือข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 1 คน
“ดำเนินการเพิ่ม” > “ฝัง” เข้ามาในนี้ จะมี Code ฝัง ให้สามารถ Copy ไปใช้ใส่ในหน้าเว็บได้
“ดำเนินการเพิ่ม” > “แก้ไขการยังยืน” การแก้ไขข้อความที่แสดง หลังจากผู้ตอบแบบสอบถามกด “ตกลง”
หากต้องการดูแบบสอบถามที่ทำ ให้คลิกที่ลิ้งค์ที่แสดงอยู่ด้านล่างสุด ที่เขียนไว้ว่า “คุณสามารถดูฟอร์มที่เผยแพร่ได้ที่นี่”
ตัวอย่างแบบสอบถามที่ทำเสร็จ
เมื่อต้องการเข้ามาดูสถิติและข้อมูลที่มีคนตอบแบบสอบถามมา ให้ Login เข้ามาที่ http://docs.google.com แล้วเลือกแบบสอบถามที่จะดูสถิติ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)