วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การติดตั้งและใช้งาน Dropbox


การติดตั้งและการใช้งานโปรแกรม Dropbox

ความสามารถของโปรแกรม
  1. แบ่งปันไฟล์เครื่องต่อเครื่องได้โดยที่ไม่ต้องใช้เนตเวอร์วงเดียวกัน ขอแค่มีอินเตอร์เน็ตเท่านั้น อยู่ที่ไหนก็ได้ในโลกนี้สามารถแบ่งปันได้หมด
  2. ไม่ต้องเสียเวลา Upload ให้ยากแค่ Copy ไฟล์ที่เราต้องการจะแบ่งปันไปไว้ในห้องที่เราสร้างไว้เท่านั้น ก็จะ Upload ให้เราเอง
  3. สามารถ Copy URL หรือลิ้งไปวางไว้ในเว็บที่ไหน หรือส่งให้เพื่อนโหลดทาง msm ก็ได้
  4. กำหนดได้ว่าจะแบ่งปันกับใคร หรือสร้างห้องใหม่ขึ้นมาเพิ่มก็ได้เผื่อว่าใครต้องการส่วนตัว


วิธีการสมัคร

1. สมัคร Cilck Here

2.จะขึ้นหน้าจอให้กรอกรายละเอียดดังรูป


3. เมื่อ Create Account เสร็จแล้ว ให้ไปที่ Download

4.เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้ว ให้ทำการ Double Click เพื่อทำการติดตั้ง Click ปุ่ม Install


5. โปรแกรมจะทำการติดตั้ง รอสักครู่... เมื่อติดตั้งเสร็จแล้วจะมีกรอบใหม่ขึ้นมาดังรูป


6.ให้เลือก I already have drobbox account เพราะเราได้ลงทะเบียนไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว

7.หลังจากนั้นจะมีกรอบใหม่ขึ้นมาให้กรอก E-mail และ password กรอกให้เหมือนกับตอนที่สมัครไว้ส่วน Computer Name ใส่อะไรลงไปก็ได้ เสร็จแล้วกด Next


8. เสร็จแล้วจะมีกรอบขั้นมาให้เลือกดังรูปเลือก 2GB Free ถ้าอยากได้มากกว่ากว่านั้นต้องเสียเงิน


9.กด Next กด Next ไปเรื่อยๆ จนถึง Finish (ซึ่งเป็นการแนะนำการใช้งาน)


วิธีใช้ ถ้าจะแบ่งปันให้ Copy ไฟล์ที่เราต้องการจะแบ่งปันไปไว้ใน Folder Public แล้ว คลิกส์ขวาที่ไฟล์ที่เราต้องการจะแบ่งปัน ไปที่ Dropbox แล้วเลือกตามลักษณะการใช้งานดังนี้

  • Browse on Dropbox website คือ เราจะเข้าไปตั้งค่าอื่นๆนอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว เช่น เข้าไปตั้งให้ใครเห็น folder ที่เราแบ่งปันไว้แล้วบ้าง

เข้าไปเชิญคนอื่นๆ ใช้ dropbox บ้าง โดย เชิญครั้งหนึ่งจะได้พื้นที่เพิ่ม 250 MB
  • View previous version ใช้สำหรับดู version เก่าๆ ของไฟล์นั้นๆ เผื่อต้องการไฟล์ตัวเก่ามาใช้ 
  • Copy public link ก็คือ ในกรณีที่เราต้องการ Copy URL หรือ Link ไป ส่งให้เพื่อนโหลดโปรแกรมที่เราแบ่งปันไว้ ส่งทางเอ็ม หรือ นำไปวางที่เว็บไหนก็ได้ครับ


What is Dropbox?

Dropbox คืออะไร

    วันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2554

    สายงานด้านไอที

    สำหรับสายงานด้านไอทีปัจจุบันมีให้เลือกสมัครจำนวนมาก รวมทั้งมีตำแหน่งงานมากที่สุดแทบจะว่าได้สำหรับอัตตราเงินเดือนของคนทำงานสายไอที อันนี้น่าจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้สมัครเอง การเรียกอัตตราเงินเดือนนั้นขึ้นอยู่กับฐานบริษัทเป็นหลัก



    1. สายผู้บริหารไอที (IT Management)
    สำหรับอาชีพสายผู้บริหารสารสนเทศขององค์กร จำเป็นเป็นต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ในการทำงานมาพอประมาณน่าจะไม่ต่ำกว่า 5 ปี สำหรับธุรกิจขนาดเล็ก-ขนาดกลางตำแหน่งสูงสุดน่าจะเป็น IT/MIS Manager ส่วนองค์กรขนาดใหญ่ต่ำแหน่งระดับสูงที่ดูแลส่วนไอทีจะใช้ตัว C นำหน้า เช่น CIO, CTO อันนี้ก็แล้วแต่ว่าแต่ละบริษัทจะเน้นที่ข้อมูลหรือเน้นที่เทคโนโลยี/นวัตกรรมใหม่ๆ ผู้บริหารไอทีต้องมีศาสตร์ในตัวหลายด้าน สามารถแก้ปัญหาฌเฉพาะหน้าได้ มองมิติต่างๆ ของธุรกิจได้ทะลุปรุโปร่ง สามารถทำเน้นโนโลยีมาประยุกต์ใช้งานกับธุรกิจตนเองได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งสามารถสร้างให้บุคคลากรในหน่วยงานใช้เทคโนโลยีได้อย่างชาญชลาด ตัวอย่าง อาชีพระดับบริหารไอที เช่น
    - CEO (Chief Executive Officer) เน้นทุกด้าน
    - CIO (Chief Information Officer) เน้นด้านระบบข้อมูล
    - CTO (Chief Technology Officer) เน้นด้านเทคโนโลยี
    - CFO (Chief Finance Officer) เน้นด้านการเงิน
    - COO (Chief Operation Officer) เน้นด้านปฏิบัติการหรือดำเนินการ
    - CMO (Chief Marketing Officer) เน้นด้านการขาย
    - General Manager ผู้จัดการทั่วไป
    - IT Manager ผู้จัดการฝ่ายไอที
    - MIS Manager
    - IT Division Manager
    - IT Sales Manager
    - IT Audit Division Manager
    - IT System Division Manager
    - Business Development Manager
    - IT Specialist
    - MIS Supervisor
    - ICT Manager
    - Assistant IT Manager

    2. อาชีพสายผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network Admin Jobs)
    สำหรับสายผู้ดูแลระบบเครือข่าย (นิยมเรียกกันในชื่อ Admin) จะเป็นผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร สามารถแบ่งได้ 3 สายย่อย ตามชนิดระบบปฏิบัติการที่ใช้งาน ดังนี้

    2.1 ผู้ดูแลระบบเครือข่ายองค์กรขนาดใหญ่ ระบบปฏิบัติการที่ใช้จะเป็น
    - UNIX เช่น IBM AIX, Sun Solaris
    * สามารถบริหารจัดการแอคเคาน์ผู้ใช้, ติดตั้งระบบเซิร์ฟเวอร์ต่างๆ อาทิ DNS, Web, Mail, Proxy, Database, Backup, ...
    2.2 ผู้ดูแลระบบเครือข่ายองค์กรขนาดกลาง ระบบปฏิบัติการที่ใช้จะเป็น
    - Windows Server (2003, 2008)
    - Linux Server เช่น RedHat, Slackware, SuSE, Debiun, Ubuntu, CentOS
    - BSD Server เช่น FreeBSD, OpenBSD, NetBSD
    2.3 ผู้ดูแลระบบเครือข่ายองค์กรขนาดเล็ก ระบบปฏิบัติการที่ใช้จะเป็น
    - Windows Server (2003, 2008)
    - Linux Server เช่น RedHat, Ubuntu, CentOS
    - BSD Server เช่น FreeBSD
    - ระบบเซิร์ฟเวอร์สำเร็จรูป เช่น IPCop, pfSense, ClarkConnect, Endian ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่นี่)

    สำหรับตำแหน่งงานสายเครือข่ายมีหลายตำแหน่งด้วยกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่ว่าหน่วยงานที่เราไปสมัครเขาเน้นใช้ระบบปฏิบัติการค่ายไหน เราก็ศึกษา NOS ตัวนั้นเป็นพิเศษ ตัวอย่าง อาชีพสายเครือข่าย เช่น
    - System Engineer วิศวกรระบบ
    - System Administrator ผู้ดูแลระบบเครือข่าย
    - Network Engineer วิศวกรเครือข่าย
    - Network Administrator
    - IT Administrator
    - IT System Admin
    - IT Security
    - Network Security
    - Internet Security Manager
    - IT Network Infrastructure
    - Network Operation เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการและดูแลแครือข่าย
    - Lotus Notes/Domino Admin
    - Internet Security Systems Engineer
    - Linux Administrator



    3. อาชีพสายนักเขียนโปรแกรม (Programmer Jobs)
    สำหรับสายนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมเมอร์ นักศึกษาที่เรียนสายวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) หรือสายวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) น่าจะได้เปรียบเป็นพิเศษ อาชีพนักเขียนโปรแกรมนั้นผู้เขียนต้องมองข้อมูลต่างๆ ในเชิง Logic เข้าใจศาสตร์และรูปแบบการเขียนโปรแกรม จริงแล้วในปัจจุบันมีหนังสือสอนจำนวนมาก หรือสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากอินเทอร์เน็ตได้เช่นกัน สำหรับในเมืองไทยเราส่วนตัวผมอยากแนะนำให้ใช้หลักทฤษฎี Copy and Modify มิใช่ใช้ทฤษฎี Copy and Copy (ที่ว่านี้เนื่องจากในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ลักษณะ Open Source

    ให้ดาวน์โหลดมาใช้งานฟรีจำนวนมาก หลังดาวน์โหลดมาแล้วน่าจะสามารถปรับแต่งข้อมูลส่วนโค้ดเพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง)แต่หากเขียนด้วยตยเองได้ โดยไม่พึ่งพาซอสโค้ดต่างชาติ จะเป็นการดีมากๆ สำหรับ อาชีพสายการเขียนโปรแกรมนั้น สามารถแยกได้ 2 ส่วนคือ

    3.1 งานโปรแกรมแบบ Offline (นิยมในอดีต)
    - ภาษาที่เน้นใช้พัฒนาอาทิ เช่น C, C++, VB, Delphi, JAVA, Cobol
    - ฐานข้อมูลที่นิยมใช้ เช่น MS Access, MS SQL Server, Oracle, Sybase, DB2
    3.2 งานโปรแกรมแบบ Online (นิยมในปัจจุบัน) เน้นใช้งานผ่านโปรแกรมเว็บบราวเซอร์เช่น IE, Firefox, Opera
    - ภาษาที่เน้นใช้พัฒนาอาทิ เช่น PHP, ASP, ASP.NET, JSP, PERL, PYTHON, RUBY (ไปดูข้อมูลสายเว็บไซ์ด้านล่างเพิ่มเติม)
    - ฐานข้อมูลที่นิยมใช้ เช่น MySQL, PostgreSQL, MS Access, MS SQL Server
    - โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ เช่น Apache, IIS, Tomcat

    ตัวอย่าง อาชีพสายการเขียนโปรแกรม เช่น
    - Programmer
    - Senior Programmer
    - Cobol Programmer เน้นภาษาโคบอล
    - Application Developer
    - Application Developer (JAVA) เน้นภาษาจาวา
    - Senior Java Developer เน้นภาษาจาวา
    - Senior Test Engineer
    - E-Commerce Developer
    - Game Programmer
    - Application Engineer
    - VB Developer
    - Senior Java Programmer
    - PHP Programmer เน้นภาษาพีเฮสพี
    - .Net Programmer (C#, VBT.NET) เน้นเทคโนโลยีดอทเน็ต อาจาใช้ภาษา C# หรือ VBT.NET
    - Java Programmer
    - Software Tester
    - Ajax Programmer
    - Software Engineer
    - J2EE Programmer
    - iPhone Application Developer เน้นใช้งานบนไอโฟน
    - IT Development Specialist
    - Project Manager




    4. อาชีพสายนักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst Jobs)
    นักวิเคราะห์ระบบงานจะทำหน้าที่วิเคราะห์ระบบงาน ก่อนการส่งงานให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมสำหรับอาชีพสายนี้หากผ่านงานสายการเขียนโปรแกรมมาก่อนจะเป็นการดีมาก
    ตัวอย่าง อาชีพสายนักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เช่น

    - Systems Analyst
    - Business Analyst
    - Senior System Analyst
    - System Analyst AS/400
    - System Analyst (RPG,AS400/IBM)


    5. สายเว็บไซต์ (Website)
    สำหรับอาชีพสายเว็บไซต์ ปัจจุบันนับเป็นอาชีพ ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ตัวอย่าง อาชีพสายเว็บไซต์ เช่น
    - Web Programmer / Web Developer ทำหน้าที่พัฒนาแอพลิเคชั่น
    - Web Designer ทำหน้าที่ออกแบบความสวยงานของเว็บไซต์
    - Web Content ทำหน้าที่ดูแลข้อมูลก่อนนำมาใส่ลงเว็บไซต์
    - Web Marketing ทำหน้าที่ทำการตลาด ทำรายได้ให้ตัวเว็บไซต์สร้างมูลค่าขึ้นมาได้
    - Web Master / Web Manager ทำหน้าที่ดูแลและควบคุมเว็บ
    - E-Commerce Developer พัฒนาระบบหน้าร้านขายของ
    - Creative Web Designer
    - Senior Web Designer
    - Flash Programmer เน้นพัฒนาแอพลิเคชั่นด้วย Action Script

    แหล่งข้อมูลศึกษาเพิ่มเติม
    - http://www.w3.org
    - http://www.php.net
    - http://www.asp.net
    - http://java.sun.com
    - http://www.python.org
    - http://www.ruby-lang.org
    - http://technet.microsoft.com
    - http://www.apache.org
    - http://www.webmaster.or.th
    - http://www.cmsthailand.com
    - http://www.arnut.com/WebMarketing/
    - http://www.iab.net



    6. อาชีพสายฐานข้อมูล (Database Jobs)
    ทำหน้าที่ดูแลฐานข้อมูลขององค์กร ตัวอย่าง อาชีพสายสายฐานข้อมูล เช่น
    - Database Administrator (DBA)
    - PL/SQL Developer
    - Lotus System Analyst
    - Database Architect
    - Oracle Database Administrator (DBA)
    - Data Warehouse Specialist
    - Oracle Programmer
    - Data Warehouse Developer
    - Oracle Forms Developer
    - DB2 Database Administrator
    - Lotus Notes Developer
    - MySQL Engineer
    - MySQL DBA

    ข้อมูลศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
    - http://www.oracle.com
    - http://www.microsoft.com/sqlserver/
    - http://www-01.ibm.com/software/data/db2/
    - http://www.sybase.com
    - http://www.mysql.com
    - http://www.arnut.com/database/
    - http://www.databasejournal.com



    7. อาชีพสาย CRM/ERP
    ทำหน้าที่ดูแลฐานข้อมูลลูกค้า และระบบจัดการบุคคลากรในหน่วยงาน
    CRM : Customer Relationship Management
    ERP : Enterprise Resource Planning
    ซอฟต์แวร์ยอดนิยมในปัจจุบัน เช่น SAP (Systems, Applications and Products)
    ตัวอย่าง อาชีพสาย CRM/ERP เช่น
    - ERP Specialist
    - SAP Basis Administrators
    - SAP Specialist
    - SAP Analyst : MM
    - SAP Analyst : SD
    - SAP Apprication Manager
    - SAP Project Manager
    - CRM Manager
    - CRM Program Management
    - CRM Business Data Manager

    ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
    - http://www.sap.com
    - http://www.thaisap.com
    - http://www.sugarcrm.com



    8. อาชีพสายคอมพิวเตอร์กราฟิก (Computer Graphic Jobs) ตัวอย่าง อาชีพสายคอมพิวเตอร์กราฟิก เช่น
    - Graphic Designer
    - Computer Graphic
    - Graphic Arts Designer

    9. อาชีพสายการออกแบบ/เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์/งานสามมิติ/Animation ตัวอย่าง อาชีพสายออกแบบ/เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์/ก เช่น
    - Draftman (พนักงานเขียนแบบ)
    - 3D Product Design Officer
    - Interactive Media Editor
    - Creative
    - 3D Modeling
    - 3D Character Animator
    - 3D Visualizer
    - Computer Animation

    10. อาชีพสายสื่อผสม (Multimedia Jobs) ตัวอย่าง อาชีพสายสื่อผสม เช่น
    - Multimedia Designer

    11. อาชีพสายที่ปรึกษาไอที (IT Consultant Jobs) ตัวอย่าง อาชีพสายที่ปรึกษาไอที เช่น
    - IT Consultant
    - Business Intelligence Consultant
    - ERP Consultant
    - Datawarehousing Consultant
    - CRM Consultant

    12. อาชีพสายผู้ตรวจสอบไอที (IT Audit Jobs) ตัวอย่าง อาชีพสายผู้ตรวจสอบไอที เช่น
    - IT Audit (ผู้ตรวจสอบระบบสารสนเทศ)

    13. อาชีพสายผู้สอนหลักสูตรไอที / ฝึกอบรมด้านไอที ตัวอย่าง อาชีพสายผู้สอนหลักสูตรไอที / ฝึกอบรมด้านไอที เช่น
    - Computer Teacher (อาจารย์สอนคอมพิวเตอร์)
    - IT Trainner (วิทยากรอบรม/บรรยายด้านไอที)
    - Instructor (ผู้สอนหลักสูตรคอมพิวเตอร์)

    14. อาชีพสายผู้สนับสนุนไอที (IT Support Jobs) ตัวอย่าง อาชีพสายผู้สนับสนุนไอที เช่น
    - IT Support
    - IT Support Officer
    - Technical Support Engineer
    - Technicial Support
    - Maintenance Engineer
    - Technical Services Engineer
    - Helpdesk Supervisor
    - IT Help Desk
    - Customer Support
    - IT Maintenance

    15. อาชีพสายพนักงานขายอุปกรณ์ไอที (IT Sales Jobs) ตัวอย่าง อาชีพสายพนักงานขายอุปกรณ์ไอที เช่น
    - IT Sales
    - Sales Executive
    - Senior Sales Executive
    - Product Specialist
    - Product Manager
    - Sales Engineer (IT)
    - Sales Engineer (Solution)
    - Sales Supervisor
    - Pre-sales Consultant
    - Sales Representative
    - Project Sales
    - Pre-sales Engineer

     16. อาชีพสายพนักงานไอที ตัวอย่าง อาชีพสายพนักงานไอที เช่น
    - IT Officer
    - System Operator
    - IT Operator
    - Computer Operator

    17. อาชีพสายไอทีอื่นๆ ที่น่าสนใจ ตัวอย่าง เช่น
    - นักเขียนหนังสือ (IT Book)
    - นักเขียนนิตยสาร/หนังสือพิมพ์ (Columnist)
    - นักข่าวสายไอที (Reporters)
    - บรรณาธิการนิตยสารไอที

    แหล่งข้อมูลศึกษาเพิ่มเติม
    - http://www.itpc.or.th
    - http://www.tja.or.th
    - http://www.thaibja.org

    ที่มา : http://www.arnut.com/b/itjobs

    วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2554

    แนะนำวิชา

    CSC200 บัณฑิตในอุดมคติทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวนหน่วยกิต 1 (0-2-2)
    คำอธิบายรายวิชา
    วิธีการเรียนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ การเตรียมตัวสู่อาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  โอกาสและแนวทางการประกอบวิชาชีพ  จรรยาบรรณวิชาชีพ และความเป็นมืออาชีพตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

    แผนการสอน



    สัปดาห์ที่
    หัวข้อ/รายละเอียด
    จำนวน
    ชั่วโมง
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1
    แนะนำการเรียนการสอน
    2
    บรรยาย
    2
    กลุ่มวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    3
    กลุ่มวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    ทดสอบย่อยครั้งที่ 1
    4
    การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการเรียน เช่น E-mail, Social network
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    5
    การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการเรียน เช่น E-mail, Social network
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    ทดสอบย่อยครั้งที่ 2
    6
    การสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    7
    การสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    ทดสอบย่อยครั้งที่ 3
    8
    สอบกลางภาค
    9
    การวิเคราะห์ปัญหาเพื่อการเขียนโปรแกรม
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    10
    การวิเคราะห์ปัญหาเพื่อการเขียนโปรแกรม
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    ทดสอบย่อยครั้งที่ 4
    11
    กฏหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    12
    กฏหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    ทดสอบย่อยครั้งที่ 5
    13
    กฏหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    14
    คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
    2
    บรรยาย และแบบฝึกหัด
    ทดสอบย่อยครั้งที่ 6
    15
    คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
    2
    บรรยาย
    16
    ทบทวนบทเรียน
    2
    ทบทวน
    17
    สอบปลายภาค